วันอาทิตย์ที่ 28 มิถุนายน พ.ศ. 2558

คุณสมบัติทางคณิตศาสตร์เบื้องต้นที่น่าสนใจ ของ ตัวเลข 0 ถึง 10

กำหนด
ให้  a,b,c,n,x เป็นจำนวนจริงใดๆ
และ  p เป็นความน่าจะเป็นของเหตุการณ์ใดๆ

คุณสมบัติทางคณิตศาสตร์เบื้องต้นที่น่าสนใจ ของ ตัวเลข 0

  • เป็นจำนวนเต็มที่ไม่ติดลบที่มีค่าน้อยที่สุด
  • เป็นจำนวนธรรมชาติ จำนวนแรก
  • เป็นสมาชิกของจำนวนเต็ม
  • ไม่เป็น จำนวนเฉพาะ และ จำนวนประกอบ
  • เป็นจำนวนคู่
  • เป็นเอกลักษณ์การบวก กล่าวคือ 0 + a = a + 0 = a
  • 0 - a = a และ 0 - a = -a
  • a + (-a) = 0
  • 0 * a = a * 0 = 0
  • 0 / x  = 0 เมื่อ x เป็นจำนวนจริงที่ไม่เท่ากับ 0
  • x / 0 ไม่นิยามเนื่องจาก 0 ไม่มีตัวผกผันการคูณ
  • 0 / 0  เป็นรูปแบบที่กำหนดไม่ได้ (Indeterminate form)
  • x ^ 0 = 1 เมื่อ x เป็นจำนวนจริงที่ไม่เท่ากับ 0
  • 0 ^ x = 0 เมื่อ x เป็นจำนวนจริงที่มากกว่ากับ 0
  • 0 ^ 0 เป็นรูปแบบที่กำหนดไม่ได้ (Indeterminate form)
  • 0! = 1
  • โดยนิยามแล้ว เมื่อ p = 0 จะเป็นความน่าจะเป็นที่เหตุการณ์นั้นจะไม่เกิดขึ้นแน่นอน
คุณสมบัติทางคณิตศาสตร์เบื้องต้นที่น่าสนใจ ของ ตัวเลข 1
  • เป็นจำนวนเต็มบวกที่มีค่าน้อยที่สุด
  • เป็นจำนวนอัตสัณฐานอันดับ 1 ของเลขฐาน 10
  • ไม่เป็น จำนวนเฉพาะ และ จำนวนประกอบ
  • เป็นจำนวนแรกที่เป็นจำนวนฟีโบนัชชี
  • เป็นเอกลักษณ์การคูณ กล่าวคือ 1 * a = a * 1 = a
  • a * (1 / a) = 1
  • 1 ^ x = 1 เมื่อ x เป็นจำนวนจริงใดๆ
  • ^ 1 = x เมื่อ x เป็นจำนวนจริงใดๆ
  • ไม่มี ลอกาลิทึม ฐาน 1 (เนื่องจาก 1 ^ x = 1)
  • มีรูปทศนิยมซำ้ 2 รูปแบบ คือ 0.999... และ 1.000...
  • โดยนิยามแล้ว เมื่อ p = 1 จะเป็นความน่าจะเป็นที่เหตุการณ์นั้นจะเกิดขึ้นแน่นอน
  • เป็นจำนวนสมบูรณืทับทวีลำดับที่ 1  (เนื่องจาก 1 * 1 = 1)
คุณสมบัติทางคณิตศาสตร์เบื้องต้นที่น่าสนใจ ของ ตัวเลข 2
  • เป็นจำนวนเฉพาะที่น้อยที่สุด
  • เป็นจำนวนเฉพาะที่เป็นจำนวนคู่
  • เป็นจำนวนฟีโบนัชชี
  • เป็นFactorial prime (0! + 1 หรือ 1! + 1)
  • เป็น Factorial (2!)
  • a + a = 2 * a
  • a * a = a ^ 2
  • ^ a = a ↑↑ 2
  • 2 + 2 = 2 * 2 = 2 ^  2 = 2 ↑↑ 2  = hyper(2,n,2) เมื่อ hyper(a,b,c) เป็นเลขยกกำลังซ้อน 
  • รากที่ 2 เป็นจำนวนอตรรกยะ แรกที่รู้จัก
คุณสมบัติทางคณิตศาสตร์เบื้องต้นที่น่าสนใจ ของ ตัวเลข 3
  • เป็นจำนวนเฉพาะที่เป็นจำนวนคี่ อันดับแรก
  • เป็นจำนวนฟีโบนัชชี
  • เป็นFactorial prime (2! + 1)
  • เป็นจำนวนของด้าน (ที่ไม่ตัดกัน) ของรูปหลายเหลี่ยมที่น้อยที่สุด
  • ค่าประมาณของ π (~ 3.14159) และ  e(~2.71828) แบบหยาบๆ เท่ากับ 3
  • เป็นจำนวนสามเหลี่ยม อันดับที่ 2
  • เป็นจำนวนที่ n ^ 2 มากกว่า 2 * n เป็นจำนวนแรก
  • เป็นผลบวกของ Factorial 2 ตัวแรก (เมื่อเริ่มด้วย 1)  (1! + 2!)
คุณสมบัติทางคณิตศาสตร์เบื้องต้นที่น่าสนใจ ของ ตัวเลข 4
  • เป็นจำนวนแรกที่เป็นจำนวนประกอบ
  • เป็นจำนวนแรกที่เป็น 2-Almost prime
  • เป็นจำนวนแรกที่เป็นจำนวนยกกำลัง 2
  • เป็นจำนวนแรกที่ไม่เป็นจำนวนฟีโบนัชชี
  • การแยกตัวประกอบเฉพาะของ 4 คือ 2^2
  • hyper(2,n,2) = 4 เมื่อ hyper(a,b,c) เป็นเลขยกกำลังซ้อน
  • เป็นผลบวกของ Factorial 4 ตัวแรก  (0! + 1! + 2!)
คุณสมบัติทางคณิตศาสตร์เบื้องต้นที่น่าสนใจ ของ ตัวเลข 5
  • เป็นจำนวนเฉพาะที่เป็นจำนวนคี่
  • เป็นจำนวนฟีโบนัชชี
  • เป็นจำนวนอัตสัณฐานอันดับ 1 ของเลขฐาน 10
  • เป็นผลบวกของ จำนวนยกกำลังสอง 2 ตัวแรก  (1^2 + 2^2)
  • เป็นFactorial prime (3! - 1)
  • เป็น Safe prime (2p + 1,p = 2)
คุณสมบัติทางคณิตศาสตร์เบื้องต้นที่น่าสนใจ ของ ตัวเลข 6
  • เป็นจำนวนแรกที่เป็นจำนวนประกอบที่ไม่เป็นจำนวนยกกำลัง 2
  • เป็นจำนวนสมบูรณ์ลำดับที่ 1  (เนื่องจาก 1 + 2 + 3 = 1 * 2 * 3 = 6)
  • เป็นจำนวนสมบูรณืทับทวีลำดับที่ 2  (เนื่องจาก 1 + 2 + 3 + 6 = 6 * 2 = 12)
  • เป็นจำนวนอัตสัณฐานอันดับ 1 ของเลขฐาน 10
  • เป็น Factorial (3!)
คุณสมบัติทางคณิตศาสตร์เบื้องต้นที่น่าสนใจ ของ ตัวเลข 7
  • เป็นFactorial prime (3! + 1)
  • จาก 999999 / 7 = 142857 จะได้ว่า 1/7 = 0.142857 142857 ... , 2/7 = 0.285714 285714 ... ,
    3/7 = 0.428571 428571 ... , 4/7 = 0.571428 571428 ... , 5/7 = 0.714285 714285 ... และ
    6/7 = 0.857142 857142 ... 
คุณสมบัติทางคณิตศาสตร์เบื้องต้นที่น่าสนใจ ของ ตัวเลข 8
  • เป็นจำนวนแรกที่เป็นจำนวนประกอบที่จำนวนยกกำลัง 3
  • เป็นจำนวนแรกที่เป็น 3-Almost prime
  • เป็นจำนวนฟีโบนัชชี
คุณสมบัติทางคณิตศาสตร์เบื้องต้นที่น่าสนใจ ของ ตัวเลข 9
  • เป็นจำนวนแรกที่เป็นจำนวนประกอบคี่
  • เป็น Exponential factorial. (3^(2^1))
  • เป็นผลบวกของ Factorial 3 ตัวแรก (เมื่อเริ่มด้วย 1)  (1! + 2! + 3!)
คุณสมบัติทางคณิตศาสตร์เบื้องต้นที่น่าสนใจ ของ ตัวเลข 10
  • เป็นจำนวนแรกที่ใช้ตัวเลข 2 ตัว
  • เป็นผลบวกของ จำนวนเฉพาะ 3 ตัวแรก (2+3+5)
  • เป็นผลบวกของ 4 จำนวนแรก  (1+2+3+4)
  • เป็นผลบวกของ จำนวนยกกำลังสองที่เป็นเลขคี่ 2 ตัวแรก  (1^2 + 3^2)
  • เป็นผลบวกของ Factorial 4 ตัวแรก  (0! + 1! + 2! + 3!)

ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น