วันจันทร์ที่ 20 กรกฎาคม พ.ศ. 2558

ความน่าจะเป็น Pt.6 [ค่าที่สำคัญในแต่ละการแจกแจงและการประยุกต์ใช้]



จาก 3 ส่วนที่แล้ว (pt.3,pt.4,pt.5) ได้มีการกล่าวถึง การแจกแจงแบบต่างๆ ในส่วนนี้จะกล่าวถึง


  • ตัวแปรต่างๆ
  • ฟังก์ชันการแจกแจงความน่าจะเป็น ฟังก์ชันความหนาแน่นของความน่าจะเป็น และ ฟังก์ชันการแจกแจงสะสม
  • ค่าเฉลี่ย และ ความแปรปรวน
  • การประยุกต์ใช้
ซึ่ง  ค่าเฉลี่ย หรือ ค่าคาดหมาย ของ ตัวแปรสุ่ม คือ ค่าเฉลี่ยถ่วงน้ำหนักของทุกๆค่าที่เป็นไปได้ของตัวแปรสุ่ม โดยในการคำนวณการถ่วงน้ำหนักจะใช้ค่าฟังก์ชันความหนาแน่นของความน่าจะเป็นสำหรับตัวแปรสุ่มต่อเนื่อง หรือใช้ค่าฟังก์ชันมวลของความน่าจะเป็นสำหรับตัวแปรสุ่มไม่ต่อเนื่อง
 หาได้จาก 

เมื่อ X เป็นตัวแปรสุ่มแบบไม่ต่อเนื่อง



เมื่อ X เป็นตัวแปรสุ่มแบบต่อเนื่อง
และ  ความแปรปรวน  คือ ค่าที่ใช้วัดความใกล้ไกลของข้อมูลกับค่าเฉลี่ย ถ้าความแปรปรวนเป็น 0 แสดงว่า ข้อมูลนี้มีความเหมือนกันทุกๆตัว และ  ความแปรปรวนจะมีค่ามากกว่า 0 เสมอ 


เริ่มกันด้วย

1. การแจกแจงแบบสม่ำเสมอ (ไม่ต่อเนื่อง)
  • n = จำนวนของตัวแปรสุ่ม
  • ตัวอย่างการใช้ :  การโยนลูกเต๋า 6 หน้า (n = 6) , สลากกินแบ่งรัฐบาล (n = 1,000,000) เป็นต้น


2. การแจกแจงแบบแเบนูลี
  • p = โอกาสของความสำเร็จ
  • ตัวอย่างการใช้ :  การโยนเหรียญ (p = 0.5) , ทอยลูกเต๋าให้ได้เลขคู่ (p = 0.333...) เป็นต้น
3. การแจกแจงแบบทวินาม
  • p = โอกาสของความสำเร็จ
    n = จำนวนของการทดลอง
  • ตัวอย่างการใช้ :  การโยนเหรียญเป็นจำนวน n ครั้ง (p = 0.5) , ทอยลูกเต๋าให้ได้เลขคู่เป็นจำนวน n ครั้ง (p = 0.333...) เป็นต้น
4. การแจกแจงแบบไฮเปอร์จิออเมตริก
  • N = จำนวนสิ่งของทั้งหมด
    k  = จำนวนสิ่งของที่ต้องการทั้งหมด
    n  = จำนวนสิ่งของที่ต้องการ
  • ตัวอย่างการใช้ :  การคัดคน(หรือ สิ่งของ) 2 กลุ่ม เป็นต้น
5. การแจกแจงทวินามลบ
  • p = โอกาสของความสำเร็จ
    k = จำนวนครั้งที่ต้องการ
  • ตัวอย่างการใช้ :  โอกาสที่จะได้รางวัล จากการเป็น ลูกค้าคนที่ 100 เป็นต้น
6. การแจกแจงเรขาคณิต
  • p = โอกาสของความสำเร็จ
  • ตัวอย่างการใช้ :  โอกาสที่จะตีบวกสำเร็จ ,  เป็นต้น
7.การแจกแจงปัวซอง
  • λ = ค่าเฉลี่ยของจำนวนเหตุการณ์ที่สนใจในช่วงเวลาหรือขอบเขตหนึ่ง (λ>0)
  • ตัวอย่างการใช้ :  ทำนายจำนวนอุบัติเหตุ , การสร้างตารางมรณะ เป็นต้น
8.การแจกแจงแบบสม่ำเสมอ (ต่อเนื่อง)
  • ตัวอย่างการใช้ :  ตัวสร้างเลขสุ่มเทียม , Quantization error เป็นต้น
9.การแจกแจงแบบปกติ
  • μ  = ค่าเฉลี่ย
    σ= ความแปรปรวน

  • (เนื่องจาก เราสามารถหาค่า F(x) ได้จากตาราง N(Z;0,1) - [1] )
  • ตัวอย่างการใช้ :  Central limit theorem เป็นต้น
10.การแจกแจงแบบแกมมา
  • α  = Shape Parameter
    β  = Rate Parameter
  • ตัวอย่างการใช้ : การเคลมประกัน , ปริมาณฝน , ปริมาณน้ำมัน เป็นต้น
11.การแจกแจงแบบเอ็กโปเนนเชียล
  • λ = อัตราการเกิดต่อหน่วยเวลา
  • ตัวอย่างการใช้ :  เวลาวิกฤต , ทำนายจำนวนอุบัติเหตุ , การสร้างตารางมรณะ เป็นต้น
    (หมายเหตุ การแจกแจงแบบเอ็กโพเนนเชียลจะเป็นการแจกแจงของระยะเวลาที่รอคอยจนกว่าจะเกิดเหตุการณ์ที่สนใจขึ้นเป็นครั้งแรก
    โดยจำนวนครั้งของเหตุการณ์ที่สนใจที่เกิดขึ้นนั้นมีการแจกแจงปัวซง
     
    )
12.การแจกแจงแบบไคสแควร์
  • vระดับความเป็นอิสระของข้อมูล
  • ตัวอย่างการใช้ :  Chi-squared Test เป็นต้น
13.การแจกแจงแบบโคชี่
  • k  = location
    γ  = Rate Parameter
  • ไม่นิยามค่าเฉลี่ย และ ความแปรปรวน
14.การแจกแจงแบบพาเรโต
  • k  = Scalel Parameter
    α  = Shape Parameter
15.การแจกแจงแบบที
  • v = ระดับความเป็นอิสระของข้อมูล
  • ที่เหลือไม่นิยามค่าเฉลี่ย และ ความแปรปรวน
* ฟังก์ชั่นต่างๆที่ปรากฏ 

https://en.wikipedia.org/wiki/Poisson_distribution
http://www.manad.cmustat.com/208271/Ch7.pdf
https://en.wikipedia.org/wiki/Uniform_distribution_(continuous)
https://en.wikipedia.org/wiki/Normal_distribution
http://www.watpon.com/Elearning/stat33.htm
https://en.wikipedia.org/wiki/Gamma_distribution
https://th.wikipedia.org/wiki/%E0%B8%81%E0%B8%B2%E0%B8%A3%E0%B9%81%E0%B8%88%E0%B8%81%E0%B9%81%E0%B8%88%E0%B8%87%E0%B9%80%E0%B8%AD%E0%B9%87%E0%B8%81%E0%B9%82%E0%B8%9E%E0%B9%80%E0%B8%99%E0%B8%99%E0%B9%80%E0%B8%8A%E0%B8%B5%E0%B8%A2%E0%B8%A5

https://en.wikipedia.org/wiki/Exponential_distribution
https://en.wikipedia.org/wiki/Chi-squared_distribution
http://www.popterms.mahidol.ac.th/popterms/showmean.php?id=d00254
https://en.wikipedia.org/wiki/Cauchy_distribution
https://en.wikipedia.org/wiki/Pareto_distribution
https://en.wikipedia.org/wiki/Student%27s_t-distribution


ตาราง:
[1] - http://science.sut.ac.th/mathematics/pairote/uploadfiles/8268305977_UW.pdf

ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น