วันเสาร์ที่ 18 กรกฎาคม พ.ศ. 2558

ความน่าจะเป็น Pt.5 [การแจกแจงอื่นๆที่น่าสนใจ]

 ใน 2 ส่วน ที่ผ่านมา (pt.3,pt.4) ได้มีการกล่าวถึง การแจกแจงความน่าจะเป็นแบบไม่ต่อเนื่อง และ
การแจกแจงความน่าจะเป็นแบบต่อเนื่อง ซึ่ง ในส่วนนี้จะกล่าวถึงการแจกแจงน่าสนใจ


  • การแจกแจงแบบโคชี่ (Cauchy Distribution)
  • การแจกแจงแบบพาเรโต (Pareto Distribution)
  • การแจกแจงแบบที (Student's t-distribution)
  1. การแจกแจงแบบโคชี่

    การแจกแจงแบบโคชี่ เป็นการแจกแจงของตัวแปรสุ่ม X โดยที่ค่าของตัวแปรสุ่มอยู่ในช่วงจำนวนจริง ซึ่ง


    และเมื่อ  k=0 และ γ=1 จะได้ว่า



    ซึ่งฟังก์ชันการแจกแจงสะสมสามารถหาได้จาก arctan(x)
  2. การแจกแจงแบบพาเรโต

    ถ้า X เป็นตัวแปรสุ่มของการแจกแจงแบบพาเรโต (ในที่นี้จะกล่าวถึง Type-I เท่านั้น) แล้ว
    ความน่าจะป็นของ X เมื่อมากกว่า x จะได้ว่า 
    เมื่อ k เป็นจำนวนจริงบวกที่น้อยที่สุดของ X และ α เป็นจำนวนจริงบวก
    การแจกแจงแบบพาเรโต Type-I  มีลักษณะพิเศษโดย ค่า k (scale parameter) และ ค่า α (shape parameter หรือ tail index)
  3. การแจกแจงแบบทีการแจกแจงแบบที เป็นการแจกแจงความน่าจะเป็นแบบต่อเนื่องที่ สำคัญและนิยมใช้กันมาก
    การแจกแจงแบบที มีลักษณะคล้ายกับการแจกแจงแบบปกติมาตรฐาน โดยที่การแจกแจงทั้งสอง
    มีโค้งความถี่เป็นรูประฆังคว้ำ และ สมมาตรกันรอบค่าเฉลี่ย ซึ่งมีค่าเป็น 0 แต่การแจกแจงแบบที มีการผันแปรมากกว่า เนื่องจากค่าของ ที ขึ้นอยู่กับการเปลี่ยนแปลงของค่าสถิติ 2 ค่า μ คือ σ2 และ ในขณะที่ค่า z ขึ้นอยู่กับค่าสถิติเพียงค่าเดียวดังนั้นการแจกแจง t และ z ต่างกันเนื่องจากขนาดของตัวอย่ างท่ี่ใช้แต่การแจกแจงทั้ งสองจะไม่แตกต่างกันเมื่อขนาดตัวอย่างที่ใช้มีขนาดใหญ่มา

    ถ้า Z เป็นตัวแปรสุ่มแบบปกติ และ Y เป็นตัวแปรสุ่มแบบไคสแควร์ด้วยองศาอิสระ v
    และถ้า Z และ Y เป็นตัวแปรสุ่มซึ่งเป็นอิสระกันแล้วตัวแปรสุ่ม
    จะมีการแจกแจงแบบทีด้วยองศาอิสระ v  และมีฟังก์ชันความน่าจะป็น


ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น